fbpx

Author: Matana Wiboonyasake

เรามี 10 ข้อควรรู้ที่จะช่วยให้คุณเข้าใจและรู้จักการรับมือกับภัยทางไซเบอร์ได้อย่างเหมาะสม ที่คุณสามารถนำไปปฏิบัติตามได้เพื่อความปลอดภัยทางไซเบอร์ทั้งส่วนตัวและส่วนองค์กร...

คุณรู้หรือไม่ว่าอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทั้งหลายส่วนใหญ่ ถูกออกแบบมาให้ใช้งาน แต่ไม่ได้บรรจุการป้องกันภัยใดๆมาให้ ถ้าคุณสังเกตุเวลาที่คุณซื้อคอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุคใหม่มาใช้ นอกจากการติดตั้งซอฟท์แวร์ต่างๆแล้ว คุณจะถูกแนะนำให้ติดตั้งซอฟท์แวร์รักษาความปลอดภัยให้แก่คอมพิวเตอร์ด้วย ...

คุณสามารถดูอ้างอิงที่มาของสถิติจากบทความ: การรักษาความปลอดภัยทางเทคโนโลยี (IT Security) ได้โดยการวางเคอร์เซอร์บนตัวหนังสือสีดำแล้วกดคลิก   สถิติการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย   ไทยเป็นประเทศที่มีความเร็วอินเทอร์เน็ตอยู่ในอันดับ 2 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครอบคลุมพื้นที่ 90% ของทั้งประเทศ มีจำนวนผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในประเทศไทยอยู่ที่ 46 ล้านคน คาดว่าจะเพิ่มเป็น 59 ล้านคนภายในปี 2563   คนไทยใช้เวลากับอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ Gen Y (อายุ 17-36 ปี) เป็นกลุ่มที่ใช้อินเทอร์เน็ตต่อวันสูงสุดในช่วงวันทำงานหรือวันเรียนหนังสือ โดยใช้เฉลี่ย 7.12 ชั่วโมง/วัน และมากถึง 7.36 ชั่วโมง/วันในช่วงวันหยุด รวมถึงใช้สมาร์ทโฟนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากกว่าอุปกรณ์อื่นๆคิดเป็นร้อยละ 90.5   สถานที่ที่นิยมใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือที่บ้าน คิดเป็น 85.6% รองลงมาคือ ที่ทำงาน 52.4% ตามมาด้วยการใช้ระหว่างเดินทาง 24% เพิ่มขึ้นจาก 14% ในปีก่อน ขณะที่การใช้อินเทอร์เน็ตที่สถานศึกษาลดลงจาก 19.7% เป็น 17.5%...

ด้วยขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้นได้อยู่เสมอของ AI ทำให้หลายๆ ธุรกิจเริ่มหันมาตั้งคำถามแล้วว่าจะเอา AI ที่ชาญฉลาดมาใช้ในการทำงานได้อย่างไร ประโยชน์จริงๆของ AI กับการใช้งานในภาคธุรกิจอยู่ตรงไหนบ้าง เพราะนับวันองค์กรต่างๆ ก็จะมีเทคโนโลยีกลายเป็นรากฐานของธุรกิจและ AI ก็เป็นเหมือนเครื่องมือที่เข้ามารีดเร้นคัดเอาประสิทธิภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้ออกมาใช้ให้มากขึ้นด้วย...

ในขณะที่เรากำลังใช้ AI โดยไม่รู้ตัว ผู้นำบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยี 3 เจ้าอย่าง Apple , Google หรือ Microsoft มองเห็นอนาคตที่สดใสจาก AI พวกเขาเร่งศึกษา พัฒนา ทดลองใช้จริงในชีวิตประจำวันกันอย่างจริงจัง ในเอเชียเองก็ไม่น้อยหน้า...

พอพูดถึง AI คุณนึกถึงอะไร หลายคนอาจติดภาพของหุ่นยนต์ปัญญากลที่เราเคยเห็นจากในจอโทรทัศน์และภาพยนตร์ต่างๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรา แต่บอกได้เลยว่าเราใช้ AI อยู่ในชีวิตประจำวันแทบทุกวันโดยไม่รู้ตัว เพราะมันแทรกซึมไปทุกภาคกิจกรรมไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมเทคโนโลยี การผลิต การแพทย์ การคมนาคมและอีกหลายๆ ด้าน แม้กระทั่งการติดต่อสื่อสาร การตลาด การขาย และการบริการลูกค้า...

เราอาจกล่าวได้ว่า ถ้า Blockchain สามารถนำมาซึ่งคุณค่า มีความน่าเชือถือ และสร้างความไว้วางใจให้กับวงการธุรกรรมทางการเงินได้มากขนาดนั้น ทั้งๆที่เรื่องเงินๆทองๆนี้เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก ถ้าลองนึกภาพให้เราถอดเรื่องของการเงินออก แล้วนำระบบ Blockchain ไปใช้กับธุรกรรมอื่นแทน ธุรกรรมนั้นจะน่าสนใจมากแค่ไหน...

Bitcoin คืออะไร จากประวัติศาสตร์ทางเศรษฐกิจของโลกทำให้เราตั้งคำถามว่า เงินประเภทไหนที่ไม่ต้องมีรัฐบาลมาคอยค้ำ ไม่ต้องมีทองคำมาเป็นประกันก็สามารถน่าเชื่อถือได้ด้วยตัวมันเอง เงินประเภทไหนที่จะมีคุณสมบัติหายาก ปลอมแปลงไม่ได้ และแบ่งเป็นชิ้นส่วนย่อยๆ ได้ แบบที่เราทำกับทองคำได้ จึงเป็นที่มาของ Bitcoin เงินตราทางเลือกที่เป็นของมหาชน...

บทความนี้เราจะอธิบายลักษณะการทำงานของ Blockchain เพื่อให้คุณได้มองภาพออกง่ายขึ้นว่าการรับส่งข้อมูลนั้นมีอะไรเกี่ยวข้องบ้าง...

Blockchain คืออะไร ความน่าสนใจของ Blockchian อยู่ตรงไหน คุณรู้หรือไม่ว่าทำไมคนพูดถึงอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มว่าจะยังคงเป็นเทคโนโลยีที่มาแรงสำหรับยุคนี้ เวลาที่เราได้ยินคำนี้มักจะมีคำ��ื่นพ่วงมาด้วย เช่น Bitcoin หรือสกุลเงินดิจิทัล สองอย่างนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไร เราจะท้าวความสั้นๆสักสองสามบทความเพื่อปูเนื้อหาเบื้องต้นถึงที่มาที่ไป ใจความสำคัญของระบบนี้คืออะไรกันแน่ ก่อนที่เราจะเข้าเรื่องว่าคนยุคนี้จะเอา Blockchain ไปทำอะไรต่อไปในอนาคต...